วันจันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

คำถามข้อสอบ ระบบเครือข่าย

1. ระบบเครือข่าย ATM เป็นระบบแบบใด
ก. ระบบไร้สาย
ข. ระบบเคลื่อนที่
ค. ระบบแบบสวิตซ์
ง. ระบบเปิด ปิด
เฉลย ข้อ ค. ระบบแบบสวิตซ์
2. 255.255.255.0 จำนวน HOST คือ
ก. 256 host
ข. 254 host
ค. 252 host
ง. 250 host
เฉลย ข้อ ข.254 host
3.ข้อใดเป็นวิธีการกำหนดให้มีการส่งและรับข้อมูลด้วยอัตราคงที่
ก. AAL1
ข. AAL2
ค. AAL3 / 4
ง. AAL5
เฉลย ข้อ ก. AAL1
4. HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่อะไร
ก. สำรวจข้อมูล
ข. จัดเก็บข้อมูล
ค. ตรวจสอบข้อมูล
ง. จัดส่งข้อมูล
เฉลย ข้อ ค. ตรวจสอบข้อมูล
5.เครือข่ายอย่างง่ายที่สุดของ ATM ประกอบด้วยชิ้นส่วนเครือข่ายอะไรบ้าง
ก. ATM Switch
ข. ATM end point
ค. ถูกเฉพาะข้อ ก.
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
เฉลย ข้อ ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
6. ข้อใดคือสิ่งที่สามารถใช้ในเครือข่าย ATM
ก. สายโคแอคเชียล
ข. สายไฟเบอร์ออปติค
ค. สายไขว้คู่
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ข้อ ง. ถูกทุกข้อ
7.เครือข่าย ATM ใช้อะไรเป็นมาตรฐาน
ก. สัญญาณคลื่นวิทยุ
ข. คลื่นไฟฟ้า
ค. โปรโตคอล
ง. สัญญาณคลื่นแม่เหล็ก
เฉลย ข้อ ค. โปรโตคอล
8.การเชื่อมต่อแบบใด ถ้าแคเบิลอันหนึ่งอันใดมีปัญหาแล้ว จะทำให้ระบบมีปัญหาทั้งหมด
ก. BUS
ข. RING
ค. STAR
ง. BUS และ RING
เฉลย ข้อ ง.BUS และ RING
9. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติที่ดีของโปรโตคอล ATM
ก. ไม่มีการกำหนดเส้นทางข้อมูลตายตัว (วงจรเสมือน)
ข. ไม่มีความผิดพลาดในการลิงค์กันระหว่างสถานี
ค. ไม่สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงมากได้
ง. ใช้วงจรเสมือนทำให้การสวิตชิ่งมีความซับซ้อนน้อย และประหยัดซอฟต์แวร์ในการช่วยจัดเส้นทางข้อมูล
เฉลย ข้อ ค. ไม่สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงมากได้
10.ข้อใดเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง สำหรับเชี่อมต่อคอมพิวเตอร์
ก. HUB
ข. SWITCH
ค. ROUTER
ง. ถูกทั้ง ก.และ ข.
เฉลย ข้อ ง.ถูกทั้ง ก.และ ข.
ขอ้สอบWindows server 2003
1. ลักษณะเด่นของ Windows server 2003
ก. มีความปลอดภัยสูง
ข. บริการ Virtual Disk Service
ค. ในการช่วยให้การจัดเก็บและสำรองข้อมูล สามารถทำได้ง่ายดาย สะดวกขึ้น
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมาเฉลยข้อ ง.ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
2. คำว่า Windows หมายถึง
ก.ประตู
ข.หน้าต่าง
ค.บานเกล็ด
ง.เพดาน
เฉลยข้อ ข.หน้าต่าง
3. ข้อใดคือ ชื่อย่อเว็บเซิร์ฟเวอร์ของ Windows server 2003
ก. IIS
ข. SSI
ค. ISS
ง. ไม่มีข้อถูก
เฉลยข้อ ก. IIS
4. Windows Server 2003 x64 Editions คือ
ก. ทำงานร่วมกับโพรเซสเซอร์ x64
ข. การประมวลผลแบบ 64
ค. ข้อ ข.ถูก
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข.
5. โปรแกมที่ใช้ ติดตั้งระบบปฏิบัติการเสมือนมีชื่อว่า จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุด
ก. VM WARE
ข. VM WARK
ค. VM Whare
ง ไม่มีข้อถูก
เฉลยข้อ ก.VM WARE
6.ถ้าเราติดตั้ง Windows server 2003 จากซีดีควรเลือกคำสั่งใดต่อไปนี้
ก. boot from CD drive
ข. boot from UHB drive
ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.
ง. ไม่มีข้อถูก
เฉลยข้อ ก. boot from CD drive
7. RAM ควรมีขนาดเริ่มต้นเท่าใด สำหรับ Windows server 2003
ก. 124 mb
ข. 128 mb
ค. 254 mb
ง. 1 gb
เฉลยข้อ ข.128 mbเฉลยข้อ ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข.
8. Terminal Services มีประโยชน์อย่างไร
ก. เพื่อรันโปรแกม
ข. เพื่อรันแอพพลิเคชั่น
ค.รักษาความปลอดภัย
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลยข้อข.เพื่อรันแอพพลิแคชั่น
9. Windows server 2003 รองรับการมีเซิร์ฟเวอร์ได้ ไม่เกินกี่เครื่อง
ก. 5 เครื่อง
ข. 6 เครื่อง
ค. 7 เครื่อง
ง. 8 เครือง
เฉลยข้อ ง. 8 เครือง
10. DFN ย่อมาจากอะไรต่อไปนี้
ก. Distributed File System
ข. Distribute File Systems
ค. Systems Distribute File
ง. ไม่มีข้อถูก
เฉลยข้อ ก. Distributed File System
IP ADDRESS
1.IPv4 มีกี่บิต
ก. 16 บิต
ข. 32 บิต
ค. 64 บิต
ง.128 บิต
เฉลย .ข32 บิต
2.หมายเลข netและ host ของ class c คืออะไร
ก.N.N.N.H
ข.N.N.H.H
ค.H.N.N.N
ง.N.H.H.H
เฉลย ก.N.N.N.H
3.IP Address คืออะไร
ก.หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์
ข.หมายเลขของระบบ LAN
ค.หมายเลขของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ง.หมายเลข server
เฉลย ก.หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์
4.หมายเลข IP Address ของ class c เริ่มจากหมายเลขใด
ก. 191-223
ข. 191-333
ค. 192-223
ง. 192-240
เฉลย ค. 192-223
5.หมายเลข IP Address ของ class B เริ่มจากหมายเลขใด
ก.126-192
ข.126-193
ค.127-191
ง.128-191
เฉลย ง.128-191
6.หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขกี่ชุด
ก. 2ชุด
ข. 3ชุด
ค. 4ชุด
ง. 5ชุด
เฉลย ค. 4ชุด
7.หมายเลข subnet mask ของ class A คือเท่าไร
ก.255.225.0.0
ข.255.255.0.0
ค.255.0.0.0
ง.255.255.255.0
เฉลย ค.255.0.0.0
8.หมายเลข netและ host ของ class A คืออะไร
ก.H.N.N.N
ข.N.N.N.H
ค.N.H.H.H
ง.N.N.H.H
เฉลย ข.N.N.N.H
9.หมายเลข subnet mask ของ class B คือเท่าไร
ก. 255.225.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.225.0
ง. 255.255.255.0
เฉลย ก. 255.225.0.0
10.หมายเลข subnet mask ของ class c คือเท่าไร
ก.255.0.0.0
ข.255.255.0.0
ค.255.255.255.0
ง.255.255.255.255
เฉลย ง.255.255.255.255

วันศุกร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

IP Address คืออะไร

IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1 หรือ 172.16.10.1 เป็นต้น
มาตรฐานของ IP Address ปัจจุบันเป็นมาตรฐาน version 4 หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า IPv4 วึ่งกำหนดให้ ip address มีทั้งหมด
32 bit หรือ 4 byte แต่ล่ะ byte จะถูกคั่นด้วยจุด (.) ภายในหมายเลขที่เราเห็นยังถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้

1. Network Address หรือ Subnet Address
2. Host Address

บนเครื่อง computer ที่ใช้ TCP/IP Protocol จะมีหมายเลข IP Address กำกับอยู่ address นี้ เป็นอยู่ใน Layer 3 ของ OSI model ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา (Logical address) และบนเครื่อง computerไม่ว่าจะใช้ Protocol ใด ๆ ก็ตามจะต้องมีหมายเลข ที่เรียกว่า MAC Address ประจำอยุ่ที่ Network card เสมอ MAC Address นี้เป็น Hardware Address ที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เว้นแต่จะเปลี่ยน Network card

Class ของแต่่ะ IP Address


Class
IP Address
Network Address
Host Address
A
w.x.y.z
w
x.y.z
B
w.x.y.z
w.x
y.z
C
w.x.y.z
w.x.y
z

คำถาม: ทำไมต้องแบ่งเป็น Classต่าง ๆ เพื่ออะไร

เพื่อความเป็นระเบียบไงครับ ทางองค์กรกลางที่ดูแลเรื่องของ IP Address จึงได้มีการจัด Class หรือ หมวดหมู่ของ IP Address
ไว้ทั้งหมด 5 Class โดย Class ของ Address จะเป็นตัวกำหนดว่า Bit ใดบ้างใน หมายเลข IP Addressที่ต้องถูกใช้เพื่อ
เป็น Network Address และ Bit ใดบ้าง ที่ต้องถูกใช้เป็น Host Address นอกจากนั้น Class ยังเป็นตัวกำหนดด้วยว่า
จำนวนของ Network Segment ที่มีได้ใน Class นั้น ๆ มีเท่าไร และจำนวนของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถมีได้ ภายใน
Network Segment นั้น ๆ มีเท่าไร

Class D

Class นี้จะไม่ถูกนำมาใช้กำหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป แต่จะถูกใช้สำหรับการส่งข้อมูลแบบ Multicast
ของบาง Application Multicast คือ เป็นการส่งจากเครื่องต้นทางหนึ่งไปยัง กลุ่ม ของเครื่องปลายทางอีกกลุ่มหนึ่ง แต่ไม่ใช่ ทุกเครืองใน Network Segment นั่น ๆ
Class E

Class นี้เป็น Address ที่ถูกสงวนไว้ก่อน ยังไม่ถูกใช้งานจริง ๆ วิธีสังเกต ว่า IP Address นี้อยู่ Class อะไร• ถ้า Byte แรก ซ้ายสุดเป็น ตัวเลข 1-126 แสดงว่าเป็นหมายเลข IP Address ที่อยุ่ใน Class A (IP address 127 นั่น จะเป็น Loopback Address ของ Class นี้น่ะครับหรือ ของคอมท่านเอง )• ถ้า Byte แรก ซ้ายสุดเป็น ตัวเลข 128-191 แสดงว่าเป็นหมายเลข IP Address ที่อยุ่ใน Class B• ถ้า Byte แรก ซ้ายสุดเป็น ตัวเลข 192-223 แสดงว่าเป็นหมายเลข IP Address ที่อยุ่ใน Class C• ส่วน 224 ขึ้นไปจะเป็น Multicast Address ที่กล่าวไว้ข้างต้น
ส่วน IPv6. สามารถตามมาดูข้อมูลได้ที่นี้น่ะครับ


เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่ในอินเตอร์เน็ตต้องมีแอดเดรส (address) ซึ่งเหมือนกับบ้านต้องมีเลขที่บ้านเพื่อที่จะบอกได้ว่าเป็นบ้านไหน แอดเดรสของเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องต้องไม่ซ้ำกัน ทั้งนี้จะได้แยกออกว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องไหน แอดเดรสที่ใช้ในอินเตอร์เน็ตคือ IP address
IP Address
รูปแบบของ IP address นั้นเป็นตัวเลขล้วน( มีขนาด 32 บิต) เวลาเขียน IP address แต่ละตัวจะเขียนแทนด้วยเลขฐานสิบ โดยแบ่งเลขฐานสิบที่เขียนออกมาเป็นสี่ส่วน แต่ละส่วนคั่นด้วยจุด ดังตัวอย่าง
161.200.48.9
แต่ละส่วนจะต้องมีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 255 เกินกว่านั้นไม่ได้ แอดเดรสในตัวอย่างนี้เป็นแอดเดรสของเครื่องคอมพิวเตอร์ของคณะอักษรศาสตร์เครื่องหนึ่ง ( ซึ่งเครื่องนี้ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์) แอดเดรสนี้ท่านไม่สามารถกำหนดได้ตามใจชอบ เพราะถ้ากำหนดได้ตามใจชอบจะทำให้มีแอดเดรสซ้ำกัน (คือ อาจมีคอมพิวเตอร์สองเครื่องมีหมายเลขเดียวกัน ทำให้แยกไม่ออกว่าเป็นเครื่องไหน)
หน่วยงาน Internet Network Information Center (InterNic) ขององค์กร Network Solution Incorpaoration (NSI) ที่รัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกาเป็นผู้กำหนดหรือให้ IP address เมื่อหน่วยงานใดได้นำคอมพิวเตอร์หรือเน็ตเวิร์กต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตแล้วต้องทำการขอ IP address แต่ไม่จำเป็นต้องขอโดยตรงกับ InterNic ก็ได้ มีหน่วยงานที่รับ IP address จาก InterNic มา แล้วมาทำหน้าให้ IP address เช่น หน่วยงานประเภท ISP ให้ IP address แก่ผู้ที่เป็นสมาชิก
ยกตัวอย่างในกรณีของจุฬาฯ ได้รับแอดเดรสจาก InterNic มาจำนวนหนึ่งประมาณหกหมื่นกว่าหมายเลข แอดเดรสของจุฬามีค่าระหว่าง 161.200.0.0 ถึง 161.200.255.255 ChulaNet ซึ่งเป็นผู้ดูแลเน็ตเวิร์กของจุฬา ฯเป็นผู้คอยกำหนดแอดเดรสให้แก่คอมพิวเตอร์ในเน็ตเวิร์กของจุฬา ฯ กล่าวคือถ้าอยู่ในจุฬาฯ ให้ขอ IP address จาก ChulaNet
การอ้างอิงถึงคอมพิวเตอร์เครื่องใดก็ตามต้องใช้แอดเดรสในการอ้างอิง ดังนั้นท่านต้องทราบแอดเดรสของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องการติดต่อก่อน ท่านจึงจะสามารถติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์นั้นได้ เงื่อนไขนี้ทำให้เกิดปัญหาในการใช้อินเตอร์เน็ต เพราะว่าแอดเดรสที่ว่านี้เป็นตัวเลขล้วนทำให้ยากต่อการจดจำและใช้งาน และแอดเดรสตัวเลขยังไม่สื่อความหมายอีกด้วย แต่ถ้าใช้แอดเดรสที่เป็นชื่อในการอ้างอิงถึงคอมพิวเตอร์จะสดวกกว่า และง่ายต่อการจดจำ เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวนี้จึงได้มีการพัฒนา Domain name system ขึ้นมา
Domain Name System
Domain Name System เป็นกลไกที่ทำให้สามารถใช้แอดเดรสที่เป็นชื่อในการอ้างอิงถึงคอมพิวเตอร์หรือติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ ไม่ต้องใช้แอดเดรสที่เป็นตัวเลข
ยกตัวอย่างเช่น คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งมีแอดเดรสที่เป็นตัวเลขคือ 161.200.48.9 เวลาติดต่อกับคอมพิวเตอร์นี้ท่านต้องระบุด้วยแอดเดรสตัวเลขเสมอ แต่เมื่อมีการใช้ Domain Name System ก็จะมีการกำหนดแอดเดรสที่เป็นชื่อให้แก่คอมพิวเตอร์ ในที่นี้ก็กำหนดเป็นชื่อ www.arts.chula.ac.th ต่อไปเมื่อท่านต้องการติดต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ท่านก็ใช้ชื่อ www.arts.chula.ac.th ในการติดต่อได้ หรือจะแอดเดรสที่เป็นตัวเลขคือ 161.200.48.9 ในการติดต่อก็ได้ คือได้ทั้งสองอย่าง
โครงสร้างชื่อของ Domain Name System เป็นระบบแบบลำดับชั้น (hierachical structure) กล่าวคือระบบนี้ทำการแบ่งคอมพิวเตอร์ออกเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มเรียกว่าโดเมน(Domain) ในแต่ละโดเมนก็แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้หรือที่เรียกว่า sub domain และในแต่ละกลุ่มย่อยก็สามารถแบ่งต่อออกไปเป็นกลุ่มย่อยได้อีกจนกว่าจะพอใจ
ตัวอย่างชื่อโดเมนในระดับบนสุด
com หมายถึงกลุ่มคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานประเภทธุรกิจหรือหน่วยงานเอกชน
gov หมายถึงกลุ่มคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานภาครัฐบาล
edu หมายถึงกลุ่มคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานการศึกษา
org หมายถึงกลุ่มคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานหรือองค์กรที่ไม่หวังผลกำไร
net หมายถึงกลุ่มคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานที่เป็น network operator หรือ provider ต่าง ๆ
ถ้าชื่อโดเมนในระดับบนสุดยาวแค่สองหลักหมายถึงประเทศ เช่น
th หมายถึงกลุ่มคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย
us หมายถึงกลุ่มคอมพิวเตอร์ในประเทศสหรัฐอเมริกา
ตัวอย่างชื่อโดเมน เช่น คอมพิวเตอร์ของทีวีช่อง 5 ที่ให้บริการด้าน web มีชื่อว่า www.tv5.co.th ซึ่งมีความหมายดังนี้
th หมายถึงคอมพิวเตอร์นี้อยู่ในโดเมนประเทศไทย
co หมายถึงคอมพิวเตอร์นี้อยู่ในซับโดเมนธุรกิจ (แต่ต้องอยู่ในประเทศไทย)
www.tv5 หมายถึงคอมพิวเตอร์นี้ชื่อ www.tv5
ตัวอย่างชื่อโดเมน เช่น คอมพิวเตอร์ของทีวีช่อง 7 ที่ให้บริการด้าน web มีชื่อว่า www.ch7.com ซึ่งมีความหมายดังนี้
com หมายถึงคอมพิวเตอร์นี้อยู่ในโดเมนธุรกิจ
www.ch7 หมายถึงคอมพิวเตอร์นี้ชื่อ www.ch7
VMWare จริงๆ ก็เคยได้ยินมานานแล้ว แต่เพิ่งได้ลองใช้งาน แล้วก็ประทับใจมากครับ เลยเขียนมา share ให้คนอื่นได้ทราบด้วยครับ เผื่ออาจยังไม่เคยใช้ software ตัวนี้ชื่อ VMWare ซึ่งสามารถทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราสามารถใช้งานได้ หลายๆ OS พร้อมๆกัน เช่น อย่างที่ผมลองดู ก็จะติดตั้ง Window2000 กับ WinNT workstation แล้วสามารถใช้งานได้พร้อมกันเลย แต่เท่าที่ทราบ support OS หลายตัวครับ เช่น linux หรือ dos อะไรก็ support เหมือนกันครับ ส่วนที่ผมลองลงดูเป็นดังรูปครับ
จะเห็นว่าจากรูปจะมี OS 2 ตัว ตัวนอก ซึ่งเป็นตัวหลัก จะเป็น win2000 ส่วนตัวใน จะเป็น winnt ครับ โดย winnt จะเป็น window อยู่ใน win2000 อีกทีครับ โดย winnt ข้างในจะเป็น virtual machine ครับ ถ้าสังเกต window ในส่วน winnt จะมีปุ่ม power off , power on , reset ด้วย เหมือนเป็น computer ตัวนึงเลยครับ น่าจะเหมาะกับผู้ใช้งานที่ต้องการทดสอบ software หลายๆ OS โดยสามารถใช้งานพร้อมกันได้เลย การติดตั้งก่อนอื่น คุณต้องมี OS หลักก่อน อย่างที่ผมลงก็คือ window2000 ครับ จากนั้น ก็ลง VMWare โดยสามารถไป download ได้จาก
www.vmware.com โดยสามารถ download มาได้และทาง website จะส่ง serial มาให้อีกทีซึ่งใช้งาน ได้เพียง 30 วันครับ ส่วน version เต็ม ก็ต้องเสียเงินซื้อครับ รู้สึกว่าจะ 299 เหรียญ หลังจากที่ติดตั้งเสร็จแล้ว ก็สามารถสร้าง virtual machine ได้ครับ จากนั้น software ก็ขึ้นเป้น wizard ให้เลือกว่าจะสร้าง virtual machine ด้วย OS อะไร พร้อมทั้ง setting ค่า default ที่เหมาะสมให้ด้วย หลังจากนั้นเรียบร้อยก็ power on virtual machine ใหม่ที่สร้างขึ้นเครื่องก็จะเสมือน boot ที่หน้าจอ ขึ้น BIOS checking ดังรูปข้างล่าง
การติดตั้ง OS ใหม่ก็ให้ใส่ CD สำหรับ OS นั้นๆ เข้าไปมันก็จะ boot จาก CD แล้วทำการติดตั้งเหมือนติดตั้งเครื่องปกติครับ เมื่อติดตั้งเรียบร้อยลอง boot เข้า winnt ก็จะประมาณเป็นดังรูป
มีข้อแนะนำนิดหน่อยครับว่า หลังจากติดตั้งเสร็จ จอใน virtual machine จะไม่ละเอียดครับ เหมือนลง winnt แล้วต้องติดตั้ง driver เพิ่มเติม อันนี้ก็เหมือนกันครับ โดย VMWare จะเตรียม driver ให้แล้ว โดยจะต้องลง VMWare tool ก็จะมี CD drive โผล่มามี driver ให้สามารถติดตั้ง driver ของ card จอได้ และ อีกอัน ก็คือเรื่อง device ที่ share กันใช้ครับ เช่น พวก CD drive, floppy drive, Serial หรือ Parallel port สามารถใช้ได้ ทีละ OS ครับ โดยการ switch ก็ต้อง ไปเลือกใน menu ของ virtual machine ครับ และที่น่าประทับใจอีกอย่างก็คือ network ครับ โดยเครื่องข้างในกับข้างนอกจะเป็น IP เดียวกัน หรือคนละ IP ก็ได้ครับ และ login กันคนละ logon ก็ได้ครับ รายละเอียดอื่นๆ ลองติดตั้งดูครับ แล้วอ่าน help ดู ก็น่าจะพอได้ครับ หากใครสนใจก็ลองไป download มาลงดูได้ครับ ใช้ดูแล้วก็สนุกดีครับ และรู้สึกว่าผู้จัดทำมีความคิดสร้างสรรค์ ที่ดีจริงๆครับ

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

"ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือระบบเน็ตเวิร์ก คือกลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ถูกนำมาเชื่อมต่อกันเพื่อให้ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในเครือข่ายร่วมกันได้" เครือข่ายนั้นมีหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กที่เชื่อมต่อกันด้วยคอมพิวเตอร์เพียงสองสามเครื่อง เพื่อใช้งานในบ้านหรือในบริษัทเล็กๆ ไปจนถึงเครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก ส่วน Home Network หรือเครือข่ายภายในบ้าน ซึ่งเป็นระบบ LAN ( Local Area Network) ที่คุณผู้อ่านจะได้พบต่อไปนี้ เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กๆ หมายถึงการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ มาเชื่อมต่อกันในบ้าน สิ่งที่เกิดตามมาก็คือประโยชน์ในการใช้คอมพิวเตอร์ด้านต่างๆ เช่น1. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน หมายถึง การใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องพิมพ์ร่วมกัน กล่าวคือ มีเครื่องพิมพ์เพียงเครื่องเดียว ทุกคนในเครือข่ายสามารถใช้เครื่องพิมพ์นี้ได้ ทำให้สะดวกและประหยัดค่าใช้จ่าย เพราะไม่ต้องลงทุนซื้อเครื่องพิมพ์หลายเครื่อง (นอกจากจะเป็นเครื่องพิม์คนละประเภท) 2. การแชร์ไฟล์ เมื่อคอมพิวเตอร์ถูกติดตั้งเป็นระบบเน็ตเวิร์กแล้ว การใช้ไฟล์ข้อมูลร่วมกันหรือการแลกเปลี่ยนไฟล์ทำได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ไม่ต้องอุปกรณ์เก็บข้อมูลใดๆ ทั้งสิ้นในการโอนย้ายข้อมูลตัดปัญหาเรื่องความจุของสื่อบันทึกไปได้เลย ยกเว้นอุปกรณ์ในการจัดเก็บข้อมูลหลักอย่างฮาร์ดดิสก์ หากพื้นที่เต็มก็คงต้องหามาเพิ่ม3. การติดต่อสื่อสาร โดยคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเป็นระบบเน็ตเวิร์ก สามารถติดต่อพูดคุยกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น โดยอาศัยโปรแกรมสื่อสารที่มีความสามารถใช้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ได้เช่นเดียวกัน หรือการใช้อีเมล์ภายในก่อให้เครือข่าย Home Network หรือ Home Office จะเกิดประโยชน์นี้อีกมากมาย4. การใช้อินเทอร์เน็ตร่วมกัน คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อในระบบ เน็ตเวิร์ก สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ทุกเครื่อง โดยมีโมเด็มตัวเดียว ไม่ว่าจะเป็นแบบอนาล็อกหรือแบบดิจิตอลอย่าง ADSL ยอดฮิตในปัจจุบันระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร สถาบันการศึกษาและบ้านไปแล้วการใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ทั้งไฟล์ เครื่องพิมพ์ ต้องใช้ระบบเครือข่ายเป็นพื้นฐาน ระบบเครือข่ายจะหมายถึง การนำคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อกันเพื่อจะทำการแชร์ข้อมูล และทรัพยากรร่วมกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลและเครื่องพิมพ์ ระบบเครือข่ายสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ด้วยกันคือ1. LAN (Local Area Network)ระบบเครื่องข่ายท้องถิ่น เป็นเน็ตเวิร์กในระยะทางไม่เกิน 10 กิโลเมตร ไม่ต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ คือจะเป็นระบบเครือข่ายที่อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรือต่างอาคาร ในระยะใกล้ๆ2. MAN (Metropolitan Area Network)ระบบเครือข่ายเมือง เป็นเน็ตเวิร์กที่จะต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นการติดต่อกันในเมือง เช่น เครื่องเวิร์กสเตชั่นอยู่ที่สุขุมวิท มีการติดต่อสื่อสารกับเครื่องเวิร์กสเตชั่นที่บางรัก3. WAN (Wide Area Network)ระบบเครือข่ายกว้างไกล หรือเรียกได้ว่าเป็น World Wide ของระบบเน็ตเวิร์ก โดยจะเป็นการสื่อสารในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลก จะต้องใช้มีเดีย(Media) ในการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย (คู่สายโทรศัพท์ dial-up / คู่สายเช่า Leased line / ISDN) (lntegrated Service Digital Network สามารถส่งได้ทั้งข้อมูล เสียง และภาพในเวลาเดียวกัน)ประเภทของระบบเครือข่ายPeer To Peerเป็นระบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนระบบเครือข่ายมีฐานเท่าเทียมกัน คือทุกเครื่องสามารถจะใช้ไฟล์ในเครื่องอื่นได้ และสามารถให้เครื่องอื่นมาใช้ไฟล์ของตนเองได้เช่นกัน ระบบ Peer To Peer มีการทำงานแบบดิสทริบิวท์(Distributed System) โดยจะกระจายทรัพยากรต่างๆ ไปสู่เวิร์กสเตชั่นอื่นๆ แต่จะมีปัญหาเรื่องการรักษาความปลอดภัย เนื่องจากข้อมูลที่เป้นความลับจะถูกส่งออกไปสู่คอมพิวเตอร์อื่นเช่นกันโปรแกรมที่ทำงานแบบ Peer To Peer คือ Windows for Workgroup และ Personal Netware
Client / Serverเป็นระบบการทำงานแบบ Distributed Processing หรือการประมวลผลแบบกระจาย โดยจะแบ่งการประมวลผลระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์กับเครื่องไคลเอ็นต์ แทนที่แอพพลิเคชั่นจะทำงานอย ู่เฉพาะบนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ก็แบ่งการคำนวณของโปรแกรมแอพพลิเคชั่น มาทำงานบนเครื่องไคลเอ็นต์ด้วย และเมื่อใดที่เครื่องไคลเอ็นต์ต้องการผลลัพธ์ของข้อมูลบางส่วน จะมีการเรียกใช้ไปยัง เครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้นำเฉพาะข้อมูลบางส่วนเท่านั้นส่งกลับ มาให้เครื่องไคลเอ็นต์เพื่อทำการคำนวณข้อมูลนั้นต่อไป
รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย LAN Topologyระบบ Bus การเชื่อมต่อแบบบัสจะมีสายหลัก 1 เส้น เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งเซิร์ฟเวอร์ และไคลเอ็นต์ทุกเครื่องจะต้องเชื่อมต่อสายเคเบิ้ลหลักเส้นนี้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกมองเป็น Node เมื่อเครื่องไคลเอ็นต์เครื่องที่หนึ่ง (Node A) ต้องการส่งข้อมูลให้กับเครื่องที่สอง (Node C) จะต้องส่งข้อมูล และแอดเดรสของ Node C ลงไปบนบัสสายเคเบิ้ลนี้ เมื่อเครื่องที่ Node C ได้รับข้อมูลแล้วจะนำข้อมูล ไปทำงานต่อทันที
แบบ Ring การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง จนครบวงจร ในการส่งข้อมูลจะส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวน โดยจะเป็นการส่งผ่านจากเครื่องหนึ่ง ไปสู่เครื่องหนึ่งจนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง ปัญหาของโครงสร้างแบบนี้คือ ถ้าหากมีสายขาดในส่วนใดจะทำ ให้ไม่สามารถส่งข้อมูลได้ ระบบ Ring มีการใช้งานบนเครื่องตระกูล IBM กันมาก เป็นเครื่องข่าย Token Ring ซึ่งจะใช้รับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องมินิหรือเมนเฟรมของ IBM กับเครื่องลูกข่ายบนระบบ
แบบ Star การเชื่อมต่อแบบสตาร์นี้จะใช้อุปกรณ์ Hub เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ โดยที่ทุกเครื่องจะต้องผ่าน Hub สายเคเบิ้ลที่ใช้ส่วนมากจะเป้น UTP และ Fiber Optic ในการส่งข้อมูล Hub จะเป็นเสมือนตัวทวนสัญญาณ (Repeater) ปัจจุบันมีการใช้ Switch เป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อซึ่งมีประสิทธิภาพการทำงานสูงกว่า
แบบ Hybrid เป็นการเชื่อมต่อที่ผสนผสานเครือข่ายย่อยๆ หลายส่วนมารวมเข้าด้วยกัน เช่น นำเอาเครือข่ายระบบ Bus, ระบบ Ring และ ระบบ Star มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน เหมาะสำหรับบางหน่วยงานที่มีเครือข่ายเก่าและใหม่ให้สามารถทำงานร่วมกันได้ ซึ่งระบบ Hybrid Network นี้จะมีโครงสร้างแบบ Hierarchical หรือ Tre ที่มีลำดับชั้นในการทำงาน
เครือข่ายแบบไร้สาย ( Wireless LAN) อีกเครือข่ายที่ใช้เป็นระบบแลน (LAN) ที่ไม่ได้ใช้สายเคเบิลในการเชื่อมต่อ นั่นคือระบบเครือข่ายแบบไร้สาย ทำงานโดยอาศัยคลื่นวิทยุ ในการรับส่งข้อมูล ซึ่งมีประโยชน์ในเรื่องของการไม่ต้องใช้สายเคเบิล เหมาะกับการใช้งานที่ไม่สะดวกในการใช้สายเคเบิล โดยไม่ต้องเจาะผนังหรือเพดานเพื่อวางสาย เพราะคลื่นวิทยุมีคุณสมบัติในการทะลุทะลวงสิ่งกีดขวางอย่าง กำแพง หรือพนังห้องได้ดี แต่ก็ต้องอยู่ในระยะทำการ หากเคลื่อนย้ายคอมพิวเตอร์ไปไกลจากรัศมีก็จะขาดการติดต่อได้ การใช้เครือข่ายแบบไร้สายนี้ สามารถใช้ได้กับคอมพิวเตอร์พีซี และโน๊ตบุ๊ก และต้องใช้การ์ดแลนแบบไร้สายมาติดตั้ง รวมถึงอุปกรณ์ที่เรียกว่า Access Point ซึ่งเป็นอุปกรณ์จ่ายสัญญาณสำหรับระบบเครือข่ายไร้สาย มีหน้าที่รับส่งข้อมูลกับการ์ดแลนแบบไร้สาย







โปรโตคอลมาตรฐานของของระบบเครือข่าย

รู้จักกับโปรโตคอลการที่จะให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างเข้าใจนั้น จำเป็นต้องมีภาษาในการสื่อสารโดยเฉพาะ สำหรับภาษาของการสื่อสารในคอมพิวเตอร์เรียกว่า โปรโตคอล (Protocol) เป็นระเบียบวิธีที่กำหนดขึ้นสำหรับการสื่อสาร ให้สามารถติดต่อสื่อสารกันหรือรับส่งข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทางได้อย่างถูกต้องไม่ผิดพลาด โปรโตคอลที่ใช้สำหรับคอมพิวเตอร์มีอยู่มากมายหลายแบบเช่น NetBEUI ซึ่งเป็นโปรโตคอลอีกตัวหนึ่งที่ใช้ได้ดีในระบบเครือข่ายขนาดเล็กที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows เป็นหลัก แต่ไม่สามารถทำงานได้เร็วมากนัก นิยมใช้ในระบบปฏิบัติการรุ่นเก่าอย่าง Windows for Workgroup 3.11 เป็นต้น และก็ยังมีโปรโตคอลอื่นๆ อีกมาก แต่ส่วนมากที่ใช้กันเป็นหลักก็คือโปรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) TCP/IP เป็นโปรโตคอลที่ใช้กันในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งแน่นอนว่าใช้ใน Home Network ได้ด้วย TCP/IP จะทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการรับส่งข้อมูลในเครือข่าย การทำงาน TCP/IP จะมีการจัดแบ่งข้อมูลออกเป็นขนาดย่อยๆ เรียกว่า "แพ็กเกจ" จากนั้นจึงทยอยส่งกันไปจนถึงจุดหมายปลายทาง เสร็จแล้วจึงจะรวมแพ็กเกจย่อยๆ นั้นเป็นข้อมูลต้นฉบับอีกครั้ง และมีการรับประกันความถูกต้องโดยตัวมันเอง IP Addressการติดต่อสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรโตคอล TCP/IP นอกจากการทำงานของ TCP/IP แล้ว ยังจำเป็นต้องมีการกำหนดเลขหมายของอุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่าย เพื่อเกิดการอ้างอิงโดยไม่ซ้ำกันจะได้ส่งข้อมูลได้อย่างถูกต้องแม่นยำ เลขหมายดังกล่าวเรียกว่า ไอพีแอดเดรส เป็นตัวเลขหลัก 4 ชุดที่คั่นด้วยจุด เช่น 192.168.0.1 ไอพีแอดเดรสก็เปรียบเหมือนกับเลขที่บ้าน โดยบ้านแต่ละหลังจะต้องมีเลขที่บ้านโดยต้องไม่ซ้ำกัน เพราะถ้าซ้ำกันแล้ว บุรุษไปรษณีย์คงจะส่งจดหมายไม่ถูก สำหรับใน Home Network ของเรานี้ จะเริ่มกำหนดไอพีแอดเดรส 192.168.0.1 เป็นต้นไป เช่น คอมพิวเตอร์เครื่องที่ 1 กำหนดไอพีแอดเดรสเป็น 192.168.0.2 คอมพิวเตอร์เครื่องที่ 2 มีไอพีแอดเดรสเป็น 192.168.0.2 แบบนี้ไปเรื่อยๆ แต่ต้องไม่เกิน 192.168.0.254 ครับ (คิดว่าคงไม่มีบ้านไหนมีคอมพิวเตอร์ถึง 254 เครื่อง) นอกจากนี้ยังมีเรื่องของความเร็วในการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูล ในปัจจุบันมีมาตรฐานที่เรียกว่า Fast Ethernet หัวใจหลักของ Fast Ethernet ก็คือความเร็วในการรับส่งข้อมูลได้ถึง 100 Mbps (หนึ่งล้านบิตต่อวินาที) และความเร็วขนาด 1000 Mbps หรือ 1 Gbps (พันล้านบิตต่อวินาที) และอาจถึง 10 Gbps ในอนาคตอันใกล้นี้ สำหรับ Home Network ที่แนะนำให้คุณผู้อ่านรู้จัก และจะเริ่มลงมือปฏิบัติต่อไปนี้ จะเป็นระบบ LAN แบบ Peer to Peer ใช้รูปแบบการเชื่อมต่อแบบสตาร์ โดยใช้สาย UTP และมีอุปกรณ์เพิ่มเติมคือ ฮับ หรือ สวิตซ์ และกำหนดไอพีแอดเดรส เริ่มตั้งแต่ 192.168.0.1 เป็นต้นไปIEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) และ EIA (Electronics Association) เป็นหน่วยงานสากลที่มีหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐานของการออกแบบผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ กำหนดรูปแบบ การส่งสัญญาณ จะมีโปรโตคอลอยู่ 3 แบบ ด้วยกันคือ• ARCnet • Ethernet • Token Ring • ARCnet หรือ Attached ARCnet Resource Computing Network เป็นโปรโตคอลที่ออบแบบโดยบริษัท Data Point ในช่วงปีคศ.1977 ใช้หลักการแบบ "Transmission Permission" ในการส่งข้อมูล จะมีการกำหนดตำแหน่งแอดเดรสของเครื่องเวิร์กสเตชั่นลงไปด้วย สามารถจะเชื่อมต่อได้ทั้งแบบ Bus และ Star มีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลค่อนข้างน้อยเพียง 2.5 Kbps (2.5 เมกกะบิตต่อวินาที) ทำให้ไม่เป็นที่นิยมใช้งานEthernet เป็นโปรโตคอลที่ออกแบบโดยบริษัท Xerox ในช่วงปี คศ.1970 ใช้หลักการทำงานแบบ CSMA/CD(Carrier Sense Multiple Access With Collision Detection) ในการส่งแมสเซจไปบนสายสัญญาณของระบบเครือข่าย ถ้าหากมีการส่งออกมาพร้อมกันย่อมจะเกิดการชนกัน (Collision) ของสัญญาณ ทำให้การส่งผ่านข้อมูลต้องหยุดลงทันที CSMA/CD จะใช้วิธีของ Listen before-Transmiting คือ ก่อนจะส่งสัญญาณออกไปจะต้องตรวจสอบว่าขณะนั้นมีเวิร์กสเตชั่นเครื่องใดทำการรับ-ส่งแมสเซจบนสายเคเบิ้ลอยู่หรือไม่? ถ้ามีก็ต้องรอจนกว่าสายเคเบิ้ลจะว่าง แล้วจึงส่งข้อมูลออกไปบนสายเคเบิ้ลโปรโตคอล Ethernet เป็นมาตรฐานของ IEEE 802.3 สามารถเชื่อมต่อได้ทั้ง Bus และ Star โดยใช้สาย Coaxial หรือสายทองแดงคู่ตีเกลียว (UTP = Unsheild Twisted Pair) ที่มีความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล 10 Mpbs (10 เมกกะบิตต่อวินาที) ในปัจจุบันได้พัฒนาความเร็วเป็น 100 Mbps มีความยาวสูงสุดระหว่างเครื่องเวิร์กสเตชั่น 2.8 กิโลเมตรในการส่งสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ไปบนสายเคเบิ้ล จะใช้แบบ Machestes Encodeb Digital Base band และกล่าวถึงสัญญาณดิจิตอล 0-1 ในการส่งผ่านไปบนสายเคเบิ้ล Ethernet มีรูปแบบการต่อสายเคเบิ้ล 3 แบบด้วยกันคือ • 10 Base T • 10 Base 2 • 10 Base 5 10 Base T เป็นรูปแบบในการต่อสายที่นิยมมาก "10" หมายถึงความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล (10 เมกกะบิตต่อวินาที) "Base" หมายถึง ลักษณะการส่งข้อมูลแบบ Base band ซึ่งเป็นดิจิตอล และ "T" หมายถึง Twisted Pair (สายทองแดงคู่ตีเกลียว) สรุปแล้ว 10 Base T คือ การใช้สาย Twisted Pair ในการรับ-ส่งมีความเร็ว 10 Mbps ด้วยสัญญาณแบบ Base band ปัจจุบันจะใช้สาย UTP (Unshield Twisted Pair) ซึ่งจะมีสายเส้นเล็กๆ ภายใน 8 เส้นตีเกลียวกับ 4 คู่10 Base 2 เป็นรูปแบบต่อสายโดยใช้สาย Coaxial มีเส้นศูนย์กลาง 1/4 นิ้ว เรียกว่า Thin Coaxial สายจะมีความยาวไม่เกิน 180 เมตร10 Base 5 เป็นรูปแบบในการต่อสายโดยใช้สาย Coaxial ขนาดใหญ่ จะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1/2 นิ้ว เรียกว่าสาย Thick Coaxial การเชื่อมต่อละจุดจะมี Transcever เป็นตัวเชื่อมและใช้สายเคเบิ้ล AUI เชื่อมระหว่างเครื่องเวิร์กสเตชั่น สายจะมีความยาวไม่เกิน 500 เมตรToken Ring เป็นโปรโตคอลที่ออกแบบโดยบริษัท IBM ใช้มาตรฐานของ IEEE 802.5 มีระบบการติดต่อแบบ Token-Passing สามารถเชื่อมต่อได้ทั้งแบบ Ring และ Star มีความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล 4/16 Mbps และยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ของเครื่องเมนเฟรมได้โดยตรง จากปัญหาที่เกิดการชนกันของสัญญาณ (Collision) เป็นเหตุให้ IBM หันมาใช้สัญญาณ Token เพื่อติดต่อระหว่างโหมด ขั้นตอนการรับ-ส่งข้อมูลแบบ Token-Passing Ring มีดังนี้ • ชุดข้อมูล Token จะถูกส่งให้วิ่งไปรอบๆ วงแหวนของเน็ตเวิร์ก ถ้ามีเวิร์กสเตชั่นเครื่องใดต้องการจะส่งผ่านข้อมูล ก็จะต้องรอจนกว่า Token นั้นว่างก่อน • เมื่อรับ Token ว่างมาแล้ว ก็จะทำการเคลื่อนย้ายเฟรมข้อมูลต่อท้ายกับ Token นั้นแล้วส่งข้อมูลไปยังปลายทาง • เวิร์กสเตชั่นอื่นที่ต้องการจะส่งข้อมูลก็ต้องรอจนกว่า Token จะว่าจึงจะส่งข้อมูลได้
เน็ตเวิร์กโปโตคอลที่ต้องใช้งาน ในการรับส่งข้อมูลระหว่างเซิร์ฟเวอร์และไคลเอ็นต์ จะใช้โปรแกรมโตคอลในการสื่อสารข้อมูล การค้นหาเส้นทางสนับสนุนการใช้บริการต่างๆ ของเซิร์ฟเวอร์ซึ่งมีอยู่หลายชนิดด้วยกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ถูกพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ.1969 โดยเครือข่ายทางทหารของสหรัฐอเมริกาชื่อ ARPANET (Advanced Research Project Agency Network) เพื่อใช้กับระบบเครือข่าย WAN ต่อมาได้นำมาใช้งานเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายสาธารณะขนาดใหญ่หรืออินเตอร์เน็ต TCP/IP เป็นโปรโตคอลที่มีประสิทธิภาพและมีความยืดหยุ่นในการทำงานสูงสามารถจะค้นหาเส้นทางได้ เหมาะสำหรับใช้ในองค์กรขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ สามารถจะส่งผ่านข้อมูลข้ามระบบที่ต่างกันได้ เช่น Windows กับ UNIX หรือ Netware หรือ LinuxNetBEUI (NetBIOS Extended Use Interface) เป็นโปตคอลที่พัฒนามาจาก NetBIOS เริ่มใช้งานประมาณปี ค.ศ.1985 ถูกออกแบบมาให้ใช้งานกับเครือข่ายขนาดเล็ก เช่น ระบบ LAN ที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 10-200 เครื่อง NetBEUI ไม่สามารถจะค้นหาเส้นทางได้ และทำการ Route ข้อมูลข้ามเครือข่ายไม่ได้ เหมาะสำหรับเครือข่าย LAN แต่ไม่เหมาะกับระบบ WAN ระบบปฏิบัติการ Windows NT และ Windows 2000 ยังสนับสนุนไคลเอ็นต์รุ่นเก่าที่ใช้โปรโตคอลตัวนี้อยู่IPX/SPX (Intenetwork Packet Exchange/Sequanced Packet Exchange) เป็นโปรโตคอลที่พัฒนามาจาก XNS Protocol (ของบริษัท Xerox Corporation และทางบริษัท Novell ได้นำพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น) จะมีความสามารถในการค้นหาเส้นทางสำหรับเครือข่ายระบบ LAN และ WAN ทางไมโครซอฟท์ก็สนับสนุนโปรโตคอลตัวนี้แต่เรียกว่า NWLink IPX/SPX Compatible Transport Protocol ซึ่งใช้ในการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายของ Netware สามารถใช้งานฐานข้อมูล SQL Server บน Windows NT ได้ หรือการเข้าสู่เซิร์ฟเวอร์ SNA ที่เชื่อมต่อกับเครื่อง Mainframe ของ IBMDLC (Data Link Control) เป็นโปรโตคอลที่ออกแบบพัฒนาโดยบริษัท IBM เพื่อใช้ในการเชื่อมต่อสื่อสารกับเครื่องเมนเฟรมของ IBM,AS/400 ที่ใช้สถาปัตยกรรมเครือข่าย SNA (System Network Architecture)

Windows Server2003
Windows Server2003วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 (Windows Server 2003)

เป็นระบบปฏิบัติการเซิร์ฟเวอร์จากไมโครซอฟท์ เป็นรุ่นที่ถัดจากวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2000 วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 ได้ออกวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2547 ซึ่งนับเป็นหนึ่งผลิตภัณฑ์ของ Windows Server System ภาพรวมวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์เป็นระบบปฏิบัติการแรกที่ออกมาหลังจากไมโครซอฟท์ประกาศแนวทาง Trustworthy Computing จึงเป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเรื่องความปลอดภัย โดยเน้นความปลอดภัยเป็นหลัก เช่นหลังจากการตั้งแต่ติดตั้งเสร็จนั้น ไม่มีส่วนประกอบเซิร์ฟเวอร์ที่เปิดการใช้งานเพื่อลดช่องทางโจมตีตั้งแต่แรกเริ่ม และได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากใน IIS 6.0 โดยเกือบเขียนขึ้นมาใหม่หมด เพื่อเพิ่มความปลอดภัยประสิทธิภาพการทำงานในปีพ.ศ. 2548 ไมโครซอฟท์ได้ประกาศ วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ "ลองฮอร์น" ซึ่งจะเป็นรุ่นต่อจากวินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2003 โดยมีกำหนดการที่จะออกครึ่งปีแรกใน พ.ศ. 2550วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ได้แบ่งเป็นรุ่นดังนี้:Windows Small Business Server 2003Windows Server 2003 Web EditionWindows Server 2003 Standard EditionWindows Server 2003 Enterprise EditionWindows Server 2003 Datacenter EditionWindows Compute Cluster Server 2003




วันพฤหัสบดีที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551

Linux Version Properties

Linux Version Properties
Red Hat Linux(http://www.redhat.com/)บริษัท เรดแฮ็ท เกิดขึ้นจากการรวมตัวของกลุ่มโปรแกรมเมอร์ ในแถบนอร์ธ-แคโลไลนาในสหรัฐอเมริกา โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างดิสตริบิวชั่นของ Linux ที่มีการติดตั้งและการใช้งานให้ง่ายที่สุดเท่าที่เป็นไปได้แนวคิดพื้นฐานของเรดแฮ็ทคือเรื่องของ แพ็กเกจ (package) ซึ่งเป็นชุดของโปรแกรม ที่สามารถทำการติดตั้งเพิ่มเข้าและถอดออกได้ โดยที่ผู้ใช้ไม่ต้องทำการคอมไพล์โปรแกรมใหม่ หรือไม่ต้องทราบรายละเอียดแต่อย่างใด (โดยปกติแล้วการติดตั้งซอฟต์แวร์ในระบบ UNIX และ Linux จะต้องขยายไฟล์ที่ถูกบีบอัดไว้ออกมาก่อน แล้วคอมไพล์ตัวโปรแกรม Linux ใหม่พร้อมกับโปรแกรมเหล่านั้น จึงจะสามารถติดตั้งซอฟต์แวร์นั้น เพิ่มลงไปในระบบได้)ดังนั้น Red Hat จึงได้พัฒนาโปรแกรม RPM (RPM Package Manager) ขึ้นมาสำหรับติดตั้ง ถอดถอน และบริหารชุดของแพ็กเกจดังกล่าว โดยไม่ต้องเสียเวลาคอมไพล์ใหม่ (ซึ่ง RPM ในเวอร์ชันแรกๆจะพัฒนาด้วยภาษา Perl แต่ในเวอร์ชันต่อๆมาจะพัฒนาด้วยภาษา C ทำให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น) และนอกจาก RPM แล้วทางบริษัท Red Hat ก็ยังได้พัฒนาโปรแกรมติดตั้งที่เรียกว่า GLINT (Graphical Linux INstallation Tool) ซึ่งมีลักษณะการใช้งานเป็นแบบกราฟิกขึ้น จึงทำให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้นกว่าเดิมมากRed Hat Linux เวอร์ชันแรกได้ออกจำหน่ายเมื่อช่วงฤดูร้อนของปี ค.ศ. 1994 และด้วยคุณสมบัติเด่นของ RPM จึงส่งผลให้ Red Hat Linux ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว จนกลายเป็นดิสตริบิวชั่นที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการใช้งานในเชิงธุรกิจ ขณะที่ RPM ก็ได้รับการยอมรับ และนำไปใช้เป็นเครื่องมือมาตรฐาน ในการบริหารแพ็กเกจบนระบบ UNIX อื่นๆนอกเหนือจาก Linux ด้วยSuse(http://www.suse.com/)SuSE เป็นลีนุกซ์สัญชาติเยอรมัน ได้รับความนิยมเป็นอันดับหนึ่งในเยอรมันและยุโรปการติดตั้ง SuSE นั้น มีโปรแกรมที่จัดการการติดตั้งชื่อ YaST2 ซึ่งทำให้การติดตั้งได้ง่ายมากภาษาในการติดตั้งยังไม่มีภาษาไทยDebian (http://www.debian.org/)โครงการ Debian นั้นเริ่มเมื่อปี 1993 โดยนายเอียน เมอร์ดอค คำว่า Debian ก็มาจากชื่อของเค้า เอียน ( -ian ) กับชื่อแฟนของเค้า เด็บบาร่า (deb-) เอามารวมกันก็เป็น Debian นี่ถือได้ว่าเป็นลินุกซ์สำหรับแฮคเกอร์โดยแท้จริง Debian มีจุดแข็งอยู่ตรงระบบการลงโปรแกรมที่เรียกได้ว่าดีมากๆ เรียกว่า APT ที่ใช้งานได้ง่ายกว่า RPM ของเรดแฮทมาก และจะสะดวกมากขึ้นอีกถ้าเรามีเน็ตแรงๆ อยู่ด้วย เนื่องจากว่า APT จะทำการอัพเดทโปรแกรมให้เราอัตโนมัติ เช่น ต้องการลง Mozilla แค่สั่ง apt-get mozilla แล้วก็รออย่างเดียว Mozilla ก็จะพร้อมใช้งานทันที แต่ว่าส่วนอื่นๆ ของ Debian ยังไม่เป็นมิตรกับผู้ใช้หน้าใหม่เช่นกัน เลยมีบริษัทหัวใสจำนวนมาก ได้นำ Debian ดั้งเดิมมาดัดแปลงให้เหมาะกับผู้ใช้หน้าใหม่มากขึ้น แล้วนำมาขาย เช่น Xandros และ Lindows

วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

คำสั่งที่คนหา

คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร
1. telnet ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ แต่ ปัจจุบัน server ต่าง ๆ ปิดบริการ telnet แต่เปิด SSH แทน
2. ftp คำสั่ง ftp ของระบบ Unix,Linux (เป็นโปรแกรมรับ-ส่งไฟล์ )รูบแบบการใช้งาน ftp (IP or Name of FTP Server)ตัวอย่าง ftp 132.209.1.2 [Enter] Login:anonymous , Password:
Username@YourDomain.com คำสั่งที่เกี่ยวข้อง ls - ดูไฟล์ ; pwd -ดูdir. ที่อยู่ ;cd - เปลี่ยน dir ;lcd - เปลี่ยน local dir ;mput* -ส่งไฟล์ ;mget - รับไฟล์ ;bye - ออก
3. lynx เป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ซึ่งทำงานด้วยข้อความล้วน ๆ ไม่สามารถแสดง รูปภาพได้ เริ่มต้นใช้งานด้วยการล้อกอินเข้าระบบด้วยยูสเซอร์
4. mesg mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminalmesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
5. ping เป็นคำสั่งพื้นฐานในการตรวจสอบการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องส่งและ เครื่องรับ โดยจะส่งข้อมูลหรือแพ็คเกจขนาด 32K
6. write คำสั่งใช้เพื่อการส่งข้อมูลทางเดียวจากผู้เขียนไปถึงผู้รับบนเครื่องเดียวกันเท่านั้นรูปแบบคำสั่ง write user [tty] เมื่อมีการพิมพ์คำสั่ง write ผู้ใช้จะเห็นข้อความซึ่งจะแสดงว่าข้อความดังกล่าวถูกส่งมาโดยใคร ซึ่งหากผู้รับต้องการตอบกลับ ก็จะต้องใช้คำสั่ง write เช่นกัน เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วให้พิมพ์ตัวอักษร EOF หรือ กด CTRL+C เพื่อเป็นการ interrupt ทั้งนี้ข้อความที่พิมพ์หลังจาก write จะถูกส่งหลังจากการกด Enter เท่านั้นตัวอย่าง write m2k
แหล่งที่มาคำสั่ง UNIX
ที่ควรทราบคำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ...puffer.sru.ac.th/OpenBSD/command - 65k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน เขียนโดย
คำสั่งสำรองข้อมูล
1. tar เป็นคำสั่งเพื่อการ backup และ restore file ทั้งนี้การ tar จะเก็บทั้งโครง สร้าง directory และ file permission ด้วย (เหมาะสำหรับการเคลื่อนย้าย หรือแจกจ่ายโปรแกรมบนระบบ UNIX) มาจากคำว่า tape archiveรูปแบบคำสั่ง tar [option]... [file]... โดย option ที่มักใช้กันใน echo คือ-c ทำการสร้างใหม่ (backup)-t แสดงรายชื่อแฟ้มข้อมูลในแฟ้มที่ backup ไว้-v ตรวจสอบความถูกต้องของการประมวลผล-f ผลลัพธ์ของมาที่ file -x ทำการ restoreตัวอย่าง tar -xvf data.tar
2.gzip/gunzip คำสั่งgzip/gunzipของระบบ Unix,Linux (เป็นการบีบอัดไฟล์หรือขยายบีบอัดไฟล์) รูบแบบการใช้งาน gzipหรือgunzip (-cdfhlLnNrtv19 ) [file]ตัวอย่าง #gzip -9vr /home/samba/* บีบอัดไฟล์ข้อมูลทุกไฟล์ ในSub /home/samba จะเปลี่ยนเป็นนามสุกล .gz #gunzip -dvr /home/samba/* คลายการบีบอัดไฟล์ข้อมูลทุกไฟล์ที่สกุล .gz ในSub /home/samba
แหล่งที่มาคำสั่ง UNIX
ที่ควรทราบคำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ...puffer.sru.ac.th/OpenBSD/command - 65k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน เขียนโดย
คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการโปรเซส
1. ps แสดง Process หรือโปรแกรมที่ประมวลผลอยู่ในระบบขณะนั้น. ช่วยให้ผู้ดูแล ระบบ ติดตามได้ว่ามีโปรแกรมอะไรที่ไม่ถูกต้อง run อยู่ หรือโปรแกรมอะไร
2. kill คำสั่ง kill ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับยกเลิก Process)รูปแบบการใช้งาน kill [option] (process ID)ตัวอย่าง ps -A ดูหมายเลขที่ช่อง PIDของProcess ที่ต้องการลบ Kill -9 nnn แทนnnnด้วยหมายเลขPID -9 คือบังคับฆ่าให้ตาย
3. fg เป็นทางที่สามในการส่ง Signals ให้แก่ process โดยการใช้ kill system call ซึ่งเป็นวิธีในการส่ง signal จาก 1 process ไปยังที่อื่น ๆ โดยสามารถใช้ได้ทั้ง “kill command” หรือ “fg command” ก็ได้ โดยต้องมีการ include signal.h ด้วย จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ ได้เช่น kill เป็นต้น ซึ่ง process จะหยุดการทำงานของตัวเองโดย การส่ง PID ตัวเองไปให้ฟังก์ชัน ใน signal.h จัดการ ดังตัวอย่างการเรียกใช้ฟังก์ชัน kill ในโปรแกรม
4. bg
5. jobs คำสั่ง jobs ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่านข้อมูลของ Firewall)รูบแบบการใช้งาน jobsตัวอย่าง #sleep 20 & jobs
แหล่งที่มาคำสั่ง UNIX ที่ควรทราบคำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล
คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการไฟล์
1. ls เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแสดงแฟ้มข้อมูล (เช่นเดียวกับ dirของDOS) มากจากคำว่า listรูปแบบคำสั่ง ls [option] [file] option ที่มักใช้กันใน ls คือ-l จะแสดงผลลัพธ์แบบ Long Format ซึ่งจะแสดง Permission ของแฟ้มด้วย-a จะแสดงแฟ้มข้อมูลทั้งหมด-F จะแสดง / หลัง Directory และ * หลังแฟ้มข้อมูลที่ execute ได้ตัวอย่างการใช้งานls -lls -alls -F
2. cd คำสั่งChange Directoryของระบบ Unix,Linux (คล้ายกับคำสั่งCDของDOS)รูบแบบการใช้งาน cd [directory]ตัวอย่าง cd /etc [Enter]ไปDirectory etc cd ..[Enter] ย้ายไปDirectoryอีก1ชั้น
3. pwd เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแสดง Directory ปัจจุบัน (ในทำนองเดียวกับการพิมพ์ cd บน DOS) มาจากคำว่า print work directory รูปแบบคำสั่ง / ตัวอย่าง pwd
4.file file คำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ดังนั้นการหาประเภทของแฟ้มข้อมูลจะดูจาก Context ภายในของแฟ้ม ซึ่งคำสั่ง file จะทำการอ่าน Content และบอกประเภทของแฟ้มข้อมูลนั้นๆรูปแบบคำสั่ง file [option]... fileตัวอย่าง file /bin/shfile report1.doc
5. mv เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการย้ายแฟ้มข้อมูลและ Directory รวมถึงการเปลี่ยนชื่อด้วย (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า move รูปแบบคำสั่ง mv source targetตัวอย่าง mv *.tar /backup, mv test.txt old.txt, mv bin oldbin
6. mkdir เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการสร้าง directory (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า make directoryรูปแบบของคำสั่งmkdir mkdir [option] [file] โดย option ที่มักใช้กันใน mkdir คือ -m จะทำการกำหนด Permissioin (ให้ดูคำสั่ง chmod เพิ่มเติม) -p จะทำการสร้าง Parent Directory ให้ด้วยกรณีที่ยังไม่มีการระบุ directory ในที่นี้อาจเป็น relative หรือ absolute path ก็ได้ตัวอย่าง mkdir /home, mkdir -p -m755 ~/้home/user1
7.rm เป็นคำสั่งที่ใช้ลบข้อมูล file ข้อมูล เกิดได้หลายกรณี เช่น เกิดจากการ ftp ขึ้นมาวางไว้
8. rmdir เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการลบ directory (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า remove directoryโครงสร้างคำสั่ง rmdir [option] [file] โดย option ที่มักใช้กันใน mkdir คือ -p จะทำการลบ Child และ Parent Directory ตามลำดับ directory ในที่นี้อาจเป็น relative หรือ absolute path ก็ได้ตัวอย่าง rmdir /home
9. chown คำสั่งChange Ownerของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนเจ้าของไฟล์)รูบแบบการใช้งาน chown [ซื่อเจ้าของไฟล์] (ชื่อFile)ตัวอย่าง chown user1 filename คือเปลี่ยนเจ้าของไฟล์ชื่อ filename เป็นUser1chown -R user1.root dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname.
10. chgrp คำสั่งChange Groupของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของไฟล์)รูปแบบการใช้งาน chgrp [-chfRv] (Group) (File)ตัวอย่าง chgrp root /root/* เปลี่ยนGroupให้กับไฟล์ทุกไฟล์ในไดเรคทอรี่ /root ให้เป็น Group root
แหล่งที่มาคำสั่ง UNIX ที่ควรทราบคำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ...puffer.sru.ac.th/OpenBSD/command - 65k

คำสั่งอื่นๆ
1. at นั้นมีไว้สำหรับสั่งการให้โมเด็มซ้ำสตริงคำสั่งสุดท้าย โมเด็มจะ ปฏิบัติตามคำสั่งทันทีที่พิมพ์เครื่องหมาย/ ไม่จำเป็นต้องป้อนคำเติมหน้าคำสั่ง
2. cpio ต้องการชื่อเต็ม (full pathname) ดังนั้นถ้าผู้ใช้ทำการอ้างชื่อ ไดเรกทอรีปลายทางแบบ relative
3. bc คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ Unix,Linuxรูบแบบการใช้งาน bc [-lwsqv] [option] [file]ตัวอย่าง bc [Enter] 1+2 [Enter] 1^2 [Enter] a=3 [Enter] b=4 [Enter] a*b [Enter] x=2;y=5;x+y[Enter] [Ctrl-d] เพื่อออก หมายเหตุ:คำสั่งนี้จะใช้ได้ต้องInstall Packet ลงไปก่อน
4.basename เป็นคำสั่งสำหรับสกัดเอาชื่อไฟล์ไฟล์โดยตัดส่วนขยายชื่อไฟล์ (file extension) .gif ออก
5. last เป็นคำสั่งที่จะทำให้ loop หยุดทำงานและออกมาจาก loop ทันที
6. crontab มีไว้เพื่อการตั้งเวลาทำงานคำสั่งหรือโปรแกรมล่วงหน้า ตามเวลาที่ ผู้ใช้ต้องการ แต่การเปิดอนุญาติเช่นนี้อาจสร้างปัญหาให้แก่ระบบ
7. dd ใช้สำหรับจัดย่อหน้าสำหรับคำอธิบาย
8. du แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด. ช่วยให้ผู้ดูแล ระบบรู้ว่า directory ใด ใช้เนื้อที่ใด หรือใช้ดูรวม ๆ
9. dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname
10. ln เป็นคำสั่งไว้สร้าง link ไปยังที่ ที่ต้องการ คลายกับ shortcut
11. env แสดงค่า environment ปัจจุบัน
12. eject คำสั่ง EJECT เป็นคำสั่งให้นำคำสั่งที่ตามหลังคำสั่ง EJECT ไปขึ้นหน้าใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้แต่ละส่วนของโปรแกรมใหญ่ๆ ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนคำสั่ง EJECT จะไม่ปรากฏใน Assembly Listing
13. exec ที่ใช้ในการแทนค่าตัวแปรแล้วรันคำสั่งแบบพลวัต (dynamicly) บันทึกพฤติกรรมของ exec ไว้
14. free แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ โครงสร้างคำสั่ง free [-b-k-m] โดย option ที่มักใช้กันใน free คือ -b แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย byte -k แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย kilobyte -m แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย megabyteตัวอย่าง free free -b free -k
15.groups
16. hostname คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่ตัวอย่าง hostname
17. lp
18. mount คำสั่ง mount ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับระบบ)รูบแบบการใช้งาน mount (-t type) DeviceDriver MountPointตัวอย่าง# การ Mount แบบที่1 CdRom mount -t iso9660 /dev/cdrom /mnt/cdromหรือ# mkdir /mnt/cdrom# mount_cd9660 /dev/cd0a /mnt/cdrom#การ Mount CdRom แบบที่2 mount /dev/cdrom (เมื่อmountแล้วCDจะอยู่ที่ /mnt/CdRom ยกเลิกดูคำสั่ง Unmount)
19. mt คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux ... คำสั่งกำหนดคำสั่งย่อ ของระบบ Unix,Linux
20.nice คำสั่งหรือโปรอกรมเข้าสู่เครื่อง .... ติดต่อ nice หรือ ติดต่อผู้บริหารเว็บไซต์ + Powered by KnowledgeVolution
21. nohup
22. netstat จะแสดงเป็นตัวเลข IP ยากต่อการเดา และการดูจริงๆคุณต้องสังเกตที่ port ที่เครื่องคุณด้วยว่าเป็น port ที่ใช้ทำอะไร
23. od แสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี่
24. pr คือส่วนหนึ่งของภาษา HTML. คุณสามารถใช้ BBCode ในข้อความที่คุณพิมพ์. และคุณสามารถยกเลิกการใช้ BBCode ในแต่ละข้อความได้ในแบบฟอร์มกรอกข้อความ. BBCode มีรูปแบบคล้ายๆกับภาษา HTML
25. df คำสั่ง df ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
26. printf รับค่าตัวแรกเป็นข้อความที่จัดรูปแบบการแสดงผล และรับรายการของข้อมูลที่ต้องการแสดงผลถัดไป. รูปแบบการแสดงผลจะถูกระบุโดยเครื่องหมาย % ตามด้วยอักษรแสดงรูปแบบ. ในกรณีนี้ %d ระบุว่าเราจะพิมพ์ตัวเลขฐานสิบ
27. df คำสั่ง df ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
28. printenv คำสั่งนี้จะแสดงค่าตัวแปลสภาพ แวดล้อม. ตัวอย่าง:. -เซ็ตค่าตัวแปรสภาพแวดล้อม. จะใช้คำสั่ง ‘setenv’
29. pg เป็นคำสั่งใช้แสดง content ของไฟล์ ทั้งหมดทีละจอภาพ ถ้าต้องการแสดงหน้า ถัดไป ต้องกด แป้น enter; รูปแบบ. pg filename
30.Quota
31. rlogin ใช้เพื่อเปิดการเชื่อมต่อ ด้วย rlogin. rsh. ใช้เพื่อ execute คำสั่งแบบ Remote (การใช้คำสั่งทำงานบน Host อื่นแบบ Remote)



แหล่งที่มาคำสั่ง UNIX ที่ควรทราบคำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ...puffer.sru.ac.th/OpenBSD/command - 65k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน เขียนโดย POKPOLO ที่ 11:39 หลังเที่ยง 0 ความคิดเห็น คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร 1. telnet ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ แต่ ปัจจุบัน server ต่าง ๆ ปิดบริการ telnet แต่เปิด SSH แทน
2. ftp คำสั่ง ftp ของระบบ Unix,Linux (เป็นโปรแกรมรับ-ส่งไฟล์ )รูบแบบการใช้งาน ftp (IP or Name of FTP Server)ตัวอย่าง ftp 132.209.1.2 [Enter] Login:anonymous , Password:
Username@YourDomain.com คำสั่งที่เกี่ยวข้อง ls - ดูไฟล์ ; pwd -ดูdir. ที่อยู่ ;cd - เปลี่ยน dir ;lcd - เปลี่ยน local dir ;mput* -ส่งไฟล์ ;mget - รับไฟล์ ;bye - ออก
3. lynx เป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ซึ่งทำงานด้วยข้อความล้วน ๆ ไม่สามารถแสดง รูปภาพได้ เริ่มต้นใช้งานด้วยการล้อกอินเข้าระบบด้วยยูสเซอร์
4. mesg mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminalmesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
5. ping เป็นคำสั่งพื้นฐานในการตรวจสอบการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องส่งและ เครื่องรับ โดยจะส่งข้อมูลหรือแพ็คเกจขนาด 32K
6. write คำสั่งใช้เพื่อการส่งข้อมูลทางเดียวจากผู้เขียนไปถึงผู้รับบนเครื่องเดียวกันเท่านั้นรูปแบบคำสั่ง write user [tty] เมื่อมีการพิมพ์คำสั่ง write ผู้ใช้จะเห็นข้อความซึ่งจะแสดงว่าข้อความดังกล่าวถูกส่งมาโดยใคร ซึ่งหากผู้รับต้องการตอบกลับ ก็จะต้องใช้คำสั่ง write เช่นกัน เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วให้พิมพ์ตัวอักษร EOF หรือ กด CTRL+C เพื่อเป็นการ interrupt ทั้งนี้ข้อความที่พิมพ์หลังจาก write จะถูกส่งหลังจากการกด Enter เท่านั้นตัวอย่าง write m2k

วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2551

1. man (เป็นคำสั่งแสดงข้อความ อธิบายการใช้คำสั่ง)รูบแบบการใช้งานman (Command)ตัวอย่าง #man ls หมายเหตุ เมื่อต้องการออก กด q ;ใช้[Spacebar] เลื่อนหน้าถัดไป ; ใช้ลูกศรขึ้นดูหน้าผ่านมา

2. alias (คล้ายกับคำสั่ง SETในDOSแต่สามารถใช้เปฝ้นคำสั่ง RUNได้)รูบแบบการใช้งาน alias [ชื่อใหม่=ข้อความ]ตัวอย่าง alias copy=cp กำหนดให้พิมพ์ copy แทนคำสั่ง cpได้

3. cal คำสั่งแสดงปฏิทินของระบบ Unix,Linuxรูบแบบการใช้งาน calตัวอย่าง cal [Enter](สั่งให้ระบบแสดง ปฏิทินเดือน ปัจจุบัน) cal -y [Enter](สั่งให้ระบบแสดง ปฏิทินปี ปัจจุบัน)4. clear คำสั่งclearของระบบ Unix,Linux (เป็นการลบข้อความบนจอภาพ คล้ายกับคำสั่ง clsใน dos

5. cat คำสั่งแสดงข้อความในFileของระบบ Unix,Linux (คล้ายกับคำสั่งTypeของDOS)รูบแบบการใช้งาน cat ตัวอย่าง cat /home/user1 more อ่านข้อมูลจากไฟล์/home/user1ถ้ายาวเกินหน้าให้หยุดทีละหน้าจอ

6. date ใช้แสดง วันที่ และ เวลา ตัวอย่าง date 17 May 2004

7. echo คำสั่งechoของระบบ Unix,Linux (เป็นการให้แสดงข้อความ เหมือนกับ ECHOของDOS)รูบแบบการใช้งาน echo (ข้อความที่ต้องการให้แสดงผล)ตัวอย่าง echo my name is user1 echo Hello > /dev/tty2 ส่งข้อความ Hello ไปออกจอเทอร์มินอลที่2

8. exit คำสั่ง exit ของระบบ Unix,Linux (ออกจากระบบยูนิกส์ )รูบแบบการใช้งาน exitตัวอย่าง exit

9. finger คำสั่ง finger ของระบบ Unix,Linux (แสดงชื่อUserที่กำลังLoginเข้ามาแต่คำสั่ง Whoจะให้รายละเอียดดีกว่า)รูบแบบการใช้งาน finger [username]ตัวอย่าง finger user1 แสดงชื่อและรายละเอียด user1

10. grep คำสั่ง grep ของระบบ Unix,Linux (เป็นการสั่งให้ค้นหาตามเงื่อนไข )รูบแบบการใช้งาน grep (option) ตัวอย่าง grep -i ftp /etc/test ค้นหาบรรทัดที่มีคำว่า "ftp"ไม่สนใจพิมพ์เล็ก-ใหญ่ จาดไฟล์ /etc/test

11. more คล้ายกับคำสั่ง cat ไม่เหมาะกับการดูข้อมูลที่มีความยาวมากๆ ดังนั้น จึงได้มีการพัฒนา more ขึ้น เพื่อช่วยให้สามารถดูข้อมูลที่มีขนาดยาวได้เป็นช่วงๆรูปแบบคำสั่ง more file ภายในโปรแกรม more จะมีคำสั่งเพื่อใช้งานคราวๆ ดังนี้ = แสดงเลขบรรทัด q ออกจากโปรแกรม

12. passwd คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linuxรูบแบบการใช้งาน passwd [Username]ตัวอย่าง passwd user1 (กำหนดรหัสผ่านให้ User1 ถ้าไม่พิมพ์ ชื่อ User ระบบUnixจะหมายความว่าแก้ไขรหัสผ่านของคนที่Loginเข้ามา)

13. who am i คำสั่งใช้เพื่อแสดงว่าผู้ใช้ซึ่ง login เข้าสู่ระบบนั้น (ตัวเราเอง) login ด้วยชื่ออะไร รูปแบบคำสั่ง/ตัวอย่าง whoami หรือ who am i (บน SUN OS หรือ UNIX บางตัวเท่านั้น)

14. sort ใช้เพื่อทำการจัดเรียงข้อมูลในแฟ้มตามลำดับ

15. su ขอเปลี่ยนตนเองเป็น super user เพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ16. tail จะแสดงส่วนท้ายของข้อมูลตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ

17. touch สร้างไฟล์ที่ว่างเปล่า หรือปรับเปลี่ยนวันเวลาที่บันทึกลงบนไฟล์

18. w ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างในขณะนั้น

19. cmp เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์

20. cut ใช้ตัด Text หรือตัด ข้อความ21. diff ช้เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์ว่ามีคล้ายกันหรือต่างกันอย่างไร

22. expr ประมวลคำจากสูตรคณิตศาสตร์23. find เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับค้นหาแฟ้มข้อมูล

24. head จะแสดงส่วนหัวของแฟ้มข้อมูล ตามแต่ละบรรทัดที่ต้องการ

25. less เป็นการเพิ่มมาจากคำสั่ง move ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจาก move ดูข้อมูลย้อนหลังไม่ได้

26. who ใช้เพื่อแสดงว่าผู้ใช้ใดบ้างที่กำลังทำงานอยู่บนระบบบ้าง

27. which

28. whereis ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด แต่ค้นหาได้เฉพาะที่กำหนดไว้ใน path เท่านั้น หากต้องการค้นหาทั้งเครื่องต้องใช้คำสั่ง findแหล่งที่มา

การใช้งานคำสั่ง unix เบื้องต้น

หมายเหตุ
เนื่องจาก Linux ใช้ File System แบบ Ext2 (Extended Files System 2) จึง ทำให้ Linux .... /bin เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บคำสั่งทั่วไปของระบบ ...
www.jobpub.com/articles/showarticle.asp?id=89 - 54k -